ข่าวสารน่ารู้
-
ความผิดฐานลักทรัพย์นายจ้าง ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 335 (11)
ผู้กระทำความผิดฐานลักทรัพย์นายจ้าง ต้องระวางโทษจำคุกตั้งแต่1-5 ปี และปรับตั้งแต่ 20,000 บาทถึง 100,000 บาท พิจารณาจากระวางโทษความผิดฐานลักทรัพยนายจ้าง และพิจารณาประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 95(3) กำหนดไว้ว่า “ในคดีอาญา ถ้ามิได้ฟ้องและได้ตัวผู้กระทำความผิดมายังศาลภายในกำหนด10ปี…
-
มาตรา 297 ผู้ใดกระทำความผิดฐานทำร้ายร่างกาย จนเป็นเหตุให้ผู้ถูกกระทำร้ายรับอันตรายสาหัส ดังนี้
ปรึกษาปัญหากฎหมาย บริษัท เอกนิติอินเตอร์ลอว์ จำกัด โทร 081-824-5999 เอกนิติอินเตอร์ลอว์ AEKNITIINTERLAW สาระกฎหมายน่ารู้ มาตรา297 ทำร้ายร่างกาย กดไลน์ กดแชร์ กดซับสไคร จะได้ไม่พลาด…
-
การทะเลาะวิวาททำร้ายร่างกายมีฐานความผิดใดบ้าง
มาตรา 295 หากการทะเลาะวิวาทมีการทำร้ายร่างกายจนเกิดบาดแผล อาจถูกจำคุกไม่เกิน 2 ปี หรือปรับไม่เกิน 40,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับมาตรา 297 ผู้ใดกระทำความผิดฐานทำร้ายร่างกาย จนเป็นเหตุให้ผู้ถูกกระทำร้ายรับอันตรายสาหัส ต้องระวางโทษจำคุกตั้งแต่ 6…
-
พินัยกรรม คืออะไรพินัยกรรม เป็นคำสั่งครั้งสุดท้ายที่แสดงเจตนารมณ์ของบุคคลเกี่ยวกับการจัดการทรัพย์สินหรือกิจการต่างๆ ของตนเองหลังเสียชีวิต โดยมีผลบังคับตามกฎหมายเมื่อผู้ทำพินัยกรรมเสียชีวิตแล้ว ซึ่งการทำพินัยกรรมที่ถูกต้องตามกฎหมายจะช่วยลดปัญหาข้อพิพาทระหว่างทายาท และช่วยให้มั่นใจได้ว่าทรัพย์สินของเราจะตกถึงมือผู้ที่เราต้องการ (ป.พ.พ. มาตรา 1646 – 1648)
พินัยกรรมมีกี่แบบสำหรับรูปแบบของพินัยกรรมที่กฏหมายรับรอง หลักๆ มีอยู่ 5 รูปแบบ
-
สร้างหรือแชร์ข่าวปลอม มีความผิดตามกฎหมาย!
การนำข้อมูลปลอม ข่าวปลอม ไม่ว่าจะเป็นการปลอมทั้งหมด หรือแค่บางส่วน หรือข้อมูลอันเป็นเท็จ เข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ หรือแม้แต่การแชร์ หรือส่งต่อข้อมูลอันเป็นเท็จเหล่านั้น ล้วนมีความผิด ตาม พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ ซึ่งเป็นความผิดที่ไม่สามารถยอมความได้ ตัวอย่างของการกระทำ ที่เข้าข่ายความผิด พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์…
-
4 บัญชี 40 อาชีพ ห้าม’แรงงานต่างด้าว’ทำหนึ่งในนั้น คือนักกฎหมาย
บัญชีที่ 11.งานแกะสลักไม้2.งานขับขี่ยานยนต์3.งานขายทอดตลาด4.งานเสริมสวย5.งานเจียระในเพชร/พลอย6.งานทอเสื่อ7.งานทอผ้าด้วยมือ8.ทำกระดาษสาด้วยมือ9.ทำเครื่องเขิน10.ทำเครื่องดนตรีไทย11.ทำเครื่องถม12.ทำเครื่องทอง/เงิน/นาก13.ทำเครื่องลงหิน14.ทำตุ๊กตาไทย15.ทำบาตร16.ทำผ้าไหมด้วยมือ17.ทำพระพุทธรูป18.ทำร่ม19.งานนายหน้า/ตัวแทน20.งานนวดไทย21.งานมวนบุหรี่22.งานมัคคุเทศก์23.งานเร่ขายสินค้า24.งานเรียงอักษร25.งานสาวบิดเกลียวไหม26.งานเลขานุการ27.บริการทางกฎหมาย บัญชีที่ 2 ให้คนต่างด้าวทำได้โดยมีเงื่อนไขต้องเป็นคนต่างด้าวของประเทศที่มีข้อตกลงกับไทยเท่านั้น1.วิชาชีพบัญชี2.วิชาชีพวิศวกรรม3.วิชาชีพสถาปัตยกรรม บัญชีที่ 3 ให้คนต่างด้าวทำงานฝีมือ หรือกึ่งฝีมือนั้นได้ก็แต่เฉพาะที่มีนายจ้าง1.งานกสิกรรม2.งานทำที่นอน3.งานทำรองเท้า4.งานประดิษฐ์เครื่องแต่งกาย5.งานก่อสร้างอื่นๆ6.งานทำมีด7.งานทำหมวก8.งานปั้นดินเผา บัญชีที่ 4 เป็นแรงงานที่ไทยมีเอ็มโอยูด้วยเท่านั้น และเฉพาะที่มีนายจ้าง(ไทยทำเอ็มโอยูกับ กัมพูชา ลาว…
-
-
การจดทะเบียนบริษัทของชาวต่างชาติที่ถือหุ้น100% ในประเทศไทยได้หรือไหม
การจดทะเบียนบริษัทในประเทศไทยสำหรับชาวต่างชาติ มี 2 กรณี กรณีที่ 1 การจดทะเบียนบริษัท สัญชาติไทย คือ คนไทย ถือหุ้นอย่างน้อย 51% และคนต่างชาติ ถือหุ้นไม่เกิน 49%…
-
ลาออกอย่างไรให้ชอบด้วยกฎหมายแรงงาน
ถ้านายจ้างบอกเลิกสัญญาจ้างเราเรียกกันว่า “การเลิกจ้าง” ลูกจ้างบอกเลิกสัญญาจ้างเราเรียกว่า” การลาออก” ดังนั้น เมื่อทั้งสองพฤติการณ์เป็นการบอกเลิกสัญญาจ้างไม่ว่าการเลิกจ้างหรือการลาออก มีกฎหมายที่เข้ามาคุ้มครองแรงงาน มาตรา 17 ย่อๆว่าการบอกเลิกสัญญาจ้างให้อีกฝ่ายหนึ่งบอกกล่าวล่วงหน้าไม่น้อยกว่า 1 งวด การจ่ายค่าจ้าง แต่ไม่ต้องบอกกล่าวกันล่วงหน้าเกิน 3 เดือน ต้องมาวิเคราะห์กฎหมายคุ้มครองแรงงาน ว่าด้วยเรื่อง ของการลาออกกันเสียก่อน พระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงานมาตรา 17 บัญญัติว่า “ สัญญาจ้างย่อมสิ้นสุดลงเมื่อครบกำหนดระยะเวลาในสัญญาจ้างโดยมิพักต้องบอกกล่าวล่วงหน้า เมื่อพิจารณากฎหมายข้างต้นเห็นได้ว่า สัญญาจ้างแรงงานตามมาตรานี้จะมี สองแบบคือ พระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541มาตรา 17 สัญญาจ้างย่อมสิ้นสุดลงเมื่อครบกำหนดระยะเวลาในสัญญาจ้างโดยมิต้องบอกกล่าวล่วงหน้า ในกรณีที่สัญญาจ้างไม่มีกำหนดระยะเวลา นายจ้างหรือลูกจ้างอาจบอกเลิกสัญญาจ้างโดยบอกกล่าวล่วงหน้าเป็นหนังสือให้อีกฝ่ายหนึ่งทราบในเมื่อถึงหรือก่อนจะถึงกำหนดจ่ายค่าจ้างคราวหนึ่งคราวใด เพื่อให้เป็นผลเลิกสัญญากันเมื่อถึงกำหนดจ่ายค่าจ้างคราวถัดไปข้างหน้าก็ได้ แต่ไม่จำต้องบอกกล่าวล่วงหน้าเกินสามเดือน ทั้งนี้ให้ถือว่าสัญญาจ้างทดลองงานเป็นสัญญาจ้างที่ไม่มีกำหนดระยะเวลาด้วย การบอกเลิกสัญญาจ้างตามวรรคสอง นายจ้างอาจจ่ายค่าจ้างให้ตามจำนวนที่จะต้องจ่ายจนถึงเวลาเลิกสัญญาตามกำหนดที่บอกกล่าวและให้ลูกจ้างออกจากงานทันทีได้
-
ผิดสัญญา คืออะไร
โดยความเข้าใจของคนทั่วไปและในทางกฎหมาย คือ การไม่ปฏิบัติตามสัญญาหรือฝ่าฝืนข้อตกลงที่ระบุในสัญญาเอาไว้ เช่น มีการระบุว่าจะต้องชำระเงินภายในวันนี้แต่ไม่ได้ชำระเงินมา การตกลงที่จะโอนกรรมสิทธิ์หากชำระเงินเรียบร้อย สัญญายืมโดยไม่มีค่าตอบแทนซึ่งผู้ยืมไม่ยอมคืนเงินหรือทรัพย์สินให้แก่ผู้ให้ยืม สัญญา โดยสัญญาที่ว่านั้นจะต้องเป็นสัญญาลายลักษณ์อักษร มีรายละเอียดของคู่สัญญา รายละเอียดที่ระบุภายใน รวมถึงระบุถึงวิธีระงับข้อพิพาท ซึ่งจะต้องเป็นสัญญาที่ได้มาด้วยความชอบธรรม ซึ่งการผิดสัญญานั้นสามารถเกิดขึ้นได้ทั้งสัญญาต่างตอบแทนและไม่ต่างตอบแทนหรือสัญญามีค่าตอบแทนและสัญญาไม่มีค่าตอบแทนโดยการผิดสัญญานับว่ามีความหมายกว้างๆ อาจเกี่ยวข้องกับการชำระเงินหรือไม่ชำระเงินก็ได้…