ข่าวสารน่ารู้
-
20 กุมภาพันธ์ “วันทนายความ”
มีความเป็นมายาวนานตั้งแต่อดีต เริ่มจากในปี พ.ศ. 2500 ทนายความทั้งรุ่นอาวุโสและรุ่นหนุ่มสาวในขณะนั้นมีแนวความคิดริเริ่มต้องการให้วิชาชีพ ทนายความ ควรมีสถาบันที่เป็นตัวแทนของวิชาชีพทนายความ และเป็นอิสระควบคุมดูแลกันเอง�จึงได้ประชุมกันก่อตั้งสมาคมทนายความแห่งประเทศไทยขึ้น โดยจดทะเบียนก่อตั้ง เมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2500�ต่อมา สมาคมทนายความแห่งประเทศไทยได้ร่วมกันใช้ความเพียรพยายามเรียกร้องและผลักดันร่างกฎหมาย พระราชบัญญัติทนายความเข้าสู่สภาผู้แทนราษฎร�จนกระทั่งเมื่อปี…
-
ทำอย่างไร ? .. เมื่อได้รับ”หมายศาล”
คดีแพ่งได้รับ 2 อย่าง คือ หมายเรียกและสำเนาคำฟ้อง คดีแพ่งสามัญติดต่อทนายยื่นคำให้การภายใน 15 วันรับหมายโดยวิธีการปิดหมายเวลายื่นคือภายใน 30 วันคดีประเภท คดีมโนสาเร่ไกล่เกลี่ย ยื่นคำให้การ หรือสืบพยานในวันที่ศาลนัดควรไปศาลทุกนัดเพื่อรักษาผลประโยชน์ของท่านเอง คดีอาญากรณีพนักงานอัยการเป็นโจทก์ไม่มีการไต่สวนมูลฟ้อง เมื่อศาลประทับฟ้องแล้วท่านตกเป็นจำเลยทันที…
-
“การล้มกีฬา”โดยให้นิยามความหมายว่า “การเข้าแข่งขันกีฬาอาชีพโดยแสร้งแพ้ หรือโดยกระทำการหรือไม่กระทำการแข่งขันกีฬาอาชีพโดยมีเจตนาทุจริต และให้หมายรวมถึงการเข้าแข่งขัน กีฬาอาชีพโดยสมยอมกันเพื่อให้ผลการแข่งขันเป็นไปตามที่กำหนดไว้เป็นการล่วงหน้า”โดยกำหนดโทษผู้ฝ่าฝืนเป็นโทษอาญา ดังนี้
มาตรา 64ผู้ใดให้ ขอให้ หรือรับ ว่าจะให้ทรัพซ่เงินหรือประโยรปชื่นใดแก่นักที่ฬาอาชีพหรือผู้อื่น เพื่อจูงใจให้นักกีฬาอาชีพกระทำการล้มกีฬาต้องระวางโกษจำคุกตั้งแต่ 5 ปี หรือปรับตั้งแต่ 200,000-500,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ มาตรา 65ผู้ใดเรียก รับ…
-
พระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560
จะมี 4 หลักการจัดซื้อจัดจ้าง 1 คุ้มค่าพัสดุ-ต้องมีคุณภาพตรงตามวัตถุประสงค์การใช้งาน-มีราคาเหมาะสม-มีแผนบริหารพัสดุที่ชัดเจนเหมาะสม 2 โปร่งใส-เปิดเผยได้ทุกขั้นตอน -แข่งขันอย่างเป็นธรรม-เท่าเทียมกัน-หลักฐานชัดเจน-ระยะเวลาเหมาะสมกับการยื่นข้อเสนอ 3 มีประสิทธิภาพ -มีการวางแผนล่วงหน้า+ประสิทธิผล-มีการกำหนดเวลาที่เหมาะสม-มีการประเมิน -เปิดเผยผลการจัดซื้อจัดจ้าง 4 ตรวจสอบได้เก็บข้อมูลอย่างเป็นระบบเพื่อประโยชน์ในการตรวจสอบ ปรึกษาปัญหากฎหมาย…
-
คล้ายแต่ไม่เหมือนกัน 3 กฎหมายการแข่งขันทางการค้า(competitionlaw)กฎหมายคุ้มครองผู้บริโภค(consumerprotectionlaw)และกฎหมายราคาสินค้าและบริการต่างก็มีวัตถุประสงค์ที่แตกต่างกันไป
กฎหมายการแข่งขันทางการค้า วัตถุประสงค์ คุ้มครองกระบวนการแข่งขันในตลาดให้มีการประกอบธุรกิจแข่นขัน อย่างเสรีและเป็นธรรม (free andfair competition) ก่อให้เกิดผล ประโยชน์ต่อเศรษฐกิจโดยรวมหน่วยงานกำกับดูแลสำนักงานคณะกรรมการ การแข่งขันทางการค้า กฎหมายราคาสินค้าและบริการ วัตถุประสงค์ กำกับดูแลราคาสินค้าหรือบริการ ที่สูงหรือต่ำเกินสมควร รวมทั้งการกำกับดูแลการกักตุนสินค้า หน่วยงานกำกับดูแลกรมการค้าภายในกระทรวงพาณิชย์ กฎหมายคุ้มครองผู้บริโภค วัตถุประสงค์ คุ้มครองสิทธิของผู้บริโภค (consumer rights) ที่ได้รับความเดือดร้อนจากการบริโภค…
-
นายกฯ-รมว.มหาดไทย ลงนามคำสั่งห้ามออกใบอนุญาตพกพาอาวุธปืน 1 ปี เริ่ม 14 ก.พ. 68 เพื่อควบคุมความปลอดภัยสาธารณะ ลดความรุนแรงรัฐบาลออกคำสั่งห้ามออกใบอนุญาตพกพาอาวุธปืนเป็นการชั่วคราว เพื่อควบคุมสถานการณ์ความรุนแรงและรักษาความสงบเรียบร้อยของสังคม โดยมีผลบังคับใช้เป็นเวลา 1 ปี
เมื่อวันที่ 12 กุมภาพันธ์ 2568 ห้ามการออกใบอนุญาตให้มีอาวุธปืนติดตัว (แบบ ป.12)คำสั่งดังกล่าวได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเมื่อวันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2568 และจะมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2568 เป็นต้นไป…
-
สิทธิ “การลา” ตามกฎหมายแรงงานประเทศไทย
ลาป่วย ลูกจ้าง ลาป่วยได้เท่าที่ป่วยจริง การลาป่วยตั้งแต่ 3 วันทำงานขึ้นไปนายจ้างอาจให้ลูกจ้างแสดงใบรับรองของแพทย์หรือของสถานพยาบาลของทางราชการได้ หากลูกจ้างไม่อาจแสดงได้ให้ลูกจ้างชี้แจงให้นายจ้างทราบ วันที่ลูกจ้างไม่อาจทำงานได้เนื่องจากประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยซึ่งเกิดจาก การทำงาน ส่วนวันลาเพื่อคลอดบุตรไม่ถือเป็นวันลาป่วย การลาป่วยลูกจ้างจะได้รับค่าจ้างเท่ากับค่าจ้างในวันทำงานปกติตลอดระยะเวลาที่ลาแต่ไม่เกิน 30 วันทำงานต่อปี ซึ่งการลาป่วยตั้งแต่วันที่ 31 เป็นต้นไปลูกจ้างจะไม่มีสิทธิได้รับค่าจ้าง ลาคลอด พระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 มาตรา 41 ประกอบมาตรา 59 กำหนดให้ลูกจ้างหญิงมีครรภ์สามารถลาคลอดบุตรได้ครรภ์หนึ่งไม่เกิน 98 วันโดยให้นับรวมวันหยุดที่มีในระหว่างวันลา สิทธิการลาคลอดนี้พนักงานสามารถที่จะลาเพื่อตรวจครรภ์ก่อนคลอดบุตร การคลอดบุตรและพักฟื้นหลังคลอดบุตร โดยพนักงานจะได้รับค่าจ้างจากองค์กรไม่เกิน 45 วัน ลาเพื่อทำหมัน ลูกจ้าง มีสิทธิ์ลาเพื่อทำหมันได้และมีสิทธิ์ลาเนื่องจากการทำหมันตามระยะเวลาที่แพทย์แผนปัจจุบันชั้นหนึ่งกำหนด และออกใบรับรองให้โดยลูกจ้างมีสิทธิ์ได้รับค่าจ้างในวันลานั้นด้วย ลากิจ ลูกจ้างมีสิทธิ์ลาเพื่อกิจธุระอันจำเป็นได้ตามข้อบังคับเกี่ยวกับการทำงาน ซึ่งตาม พ.ร.บ.คุ้มครองแรงงาน พ.ศ.2541 มาตรา 34 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2562 กำหนดให้ลูกจ้างมีสิทธิลาเพื่อกิจธุระอันจำเป็นได้ปีละไม่น้อยกว่า 3 วันทำงาน ให้นายจ้างจ่ายค่าจ้างให้แก่ลูกจ้างในวันลากิจเพื่อกิจธุระอันจำเป็น เท่ากับค่าจ้างในวันทำงานตลอดระยะเวลาที่ลา แต่ปีหนึ่งต้องไม่เกิน 3 วันทำงาน เนื่องจากการลากิจธุระอันจำเป็น เป็นสิทธิพื้นฐานที่กฎหมายคุ้มครองแรงงานกำหนดสิทธิให้ลูกจ้างทุกประเภทมีสิทธิลากิจได้ แม้จะเป็นลูกจ้างทดลองงาน ลูกจ้างรายวันและลูกจ้างประเภทอื่น ย่อมได้รับความคุ้มครองตามมาตรฐานขั้นต่ำที่กฎหมายกำหนดไว้อย่างเท่าเทียมกัน ซึ่งกรณีพนักโรงแรมแห่งหนึ่งที่ไม่สามารถลาไปดูใจแม่ที่ป่วยและเสียชีวิตในเวลาต่อมานั้น เข้าข่ายของการลากิจ ตามที่กระทรวแรงงานออกมาชี้แจงพร้อมเร่งสอบข้อเท็จจริงจากนายจ้าง ลูกจ้าง ผู้ที่เกี่ยวข้อง ส่วนทางนายจ้างให้ข้อมูลล่าสุดว่า อยู่ระหว่างการตรวจสอบข้อเท็จจริง…
-
ความรู้พกพาอาวุธปืนพกปืนไม่ผิดกฎหมาย มีหลักเกณฑ์ 3 ประการ
1ต้องเป็นอาวุธปืนของตน ได้รับใบอนุญาตให้มีและใช้ได้ตามกฎหมาย 2มีใบพกพาทั่วราชอาณาจักร หรือในเขตจังหวัด 3มีเหตุจำเป็นและเร่งด่วนตามสมควรแก่พฤติการณ์ กรณีที่ใช้ปืนได้ไม่ผิดกดหมาย 1 ป้องกันตัวหรือทรัพย์สิน 2 การกีฬา 3 การยิงสัตว์ โทษของการพกปืนมีความผิดมีดังนี้ 1 พกปืนเถื่อน…
-
คนมีบ้าน มีที่ดิน ควรรู้เอาไว้! ภาระจำยอมคืออะไร?ข้อกฎหมายสำคัญของคนมีทรัพย์สินและอสังหาริมทรัพย์
ภาระจำยอมคืออะไร?ภาระจำยอม คือ ผืนหรือแปลงที่ดิน ซึ่งจะต้องตกเป็น ”ภาระ” เพื่อให้ผู้อื่นใช้ประโยชน์ในที่ดินของตน โดยเป็นสิทธิในอสังหาริมทรัพย์ประเภทหนึ่งที่ถูกกำหนดขึ้นโดยประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ทั้งนี้มีรายละเอียดระบุไว้ในหลายมาตรา ซึ่งโดยหลักแล้วถูกบัญญัติไว้ในมาตรา ๑๓๘๗ ความว่า “อสังหาริมทรัพย์อาจต้องตกอยู่ในภาระจำยอมอันเป็นเหตุให้เจ้าของต้องยอมรับกรรมบางอย่างซึ่งกระทบถึงทรัพย์สินของตน หรือต้องงดเว้นการใช้สิทธิบางอย่างอันมีอยู่ในกรรมสิทธิ์ทรัพย์สินนั้น เพื่อประโยชน์แก่อสังหาริมทรัพย์อื่น”ทั้งนี้ ภาระจำยอมนั้นประกอบไปด้วยอสังหาริมทรัพย์…
-
มาตรา 157เจ้าพนักงาน ปฏิบัติหรือละเว้น การปฏิบัติหน้าที่โดยมิชอบเพื่อให้เกิดดวามเสียหายแก่ผู้หนึ่งผู้ใดหรือปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติหน้าที่โดยทุกจริตต้องระวางโทษจำตกตั้งแต่ 1 ปี ถึง 10 ปี หรือปรับตั้งแต่ 20,000 บ.ถึง 200,000 บ. หรือทั้งจำทั้งปรับ
” มาตรา 157 เป็นบททั่วไป “” มาตราอื่นๆ เป็นบทเฉพาะ เช่น มาตรา 147-151ต้องระวางโทษจำคุกตั้งแต่ 5 ปี ถึง 20 ปี…